บทความวิชาการ

บทความทางวิชาการ​ มิติหญิงชาย ความแตกต่างบนความเหมือน สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว Gender Development similarities and differences National Statistical Office Office of Women’s Affairs and Family Development

งานวิจัย-สำรวจ

งานวิจัย – สำรวจ การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศในที่ทำงาน ​ ดร.ชีรา ทองกระจาย​ ความลักลั่นของกฎหมายภายใต้ระบบคิดแบบทวิเพศฯ ดร.ชีรา ทองกระจาย เพศภาวะ เพศวิถี ประสบการณ์ชีวิตของกะเทยในคุก จารุวรรณ คงยศ ประสบการณ์การถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัวของเด็กหญิง แนวคิดอำนาจชายเป็นใหญ่ พรพิรินทร์ อินโส ครอบครัวเควียร์ พหุอัตลักษณ์ ความสัมพันธ์ และยุทธศาสตร์ครอบครัวเลสเบี้ยนชนชั้นแรงงาน อาทิตยา อาษา Exploring the Transnationality of Gender Mainstreaming Discourse in Humanitarian Response for Refugees in Mae Sot District, Thailand ติณณภพจ์ สินสมบูรณ์ทอง การสำรวจข้อมูลด้านความเสมอภาคระหว่างเพศ การสำรวจข้อมูลด้านความเสมอภาคระหว่างเพศ ความหลากหลายทางเพศในองค์กรรัฐระยะที่ 1 ความหลากหลายทางเพศในองค์กรรัฐระยะที่ 1 เส้นทางสายน้ำนมแม่ ประสบการณ์การต่อสู้ของแม่ทำงานยุคใหม่ เพื่อแลกกับรายได้เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมตน​ เส้นทางสายน้ำนมแม่ ประสบการณ์การต่อสู้ของแม่ทำงานยุคใหม่ […]

สรุปจำนวนคำร้องที่ยื่นต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ ระหว่างปีงบประมาณ 2558-2563

กลับหน้าข่าวประชาสัมพันธ์ Previous Next การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ ระหว่างปีงบประมาณ 2558-2563 หากท่านคิดว่ากำลังเป็นผู้เสียหายจากการถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ และต้องการความเป็นธรรม สามารถยื่นคำร้องได้ที่… กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว : 255 ถนน ราชวิถี แขวง ทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว : ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว ทั้ง 8 แห่ง สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทุกจังหวัด ส่งทางไปรษณีย์ ถึงกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว : 255 ถนน ราชวิถี แขวง ทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 E-mail : gidentity3@gmail.com สอบถาม 02-6427745 (กลุ่มคณะกรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ)   ที่มา : เว็บไซต์กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว megaphone-filled อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่ให้พลาดทุกข่าวสารของ สค. กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว […]

ประเทศไทยในความหลากหลายทางเพศ

กลับหน้าข่าวประชาสัมพันธ์ http://gepf.dwf.go.th/wp-content/uploads/2021/08/ประเทศไทยในความหลากหลายทางเพศ.mp4 ประเทศไทยในความหลากหลายทางเพศ “HAPPY PRIDE MONTH THAILAND 2020” – ร่วมส่งท้ายเดือนไพรด์ เฉลิมฉลองเดือนแห่งความหลากหลาย และภาคภูมิใจของทุกอัตลักษณ์ทางเพศ ด้วยความรักและความหวังที่มีต่อตัวเองและผู้อื่น ในฐานะพลังหนึ่งที่สำคัญเพื่อการขับเคลื่อนเรื่องเสรีภาพในการมีชีวิตของมนุษย์ทุกคน และนี่คือเสียงของคน 16 คนกับตัวตนอันหลากหลาย ที่มาร่วมสะท้อนสีสันและความคิดที่แตกต่างในฐานะ ‘ปัจเจกชน’ บนฐานของพลเมือง ที่ล้วนหวังอยากเห็นสังคมไทยมีความเท่าเทียมขึ้น ไม่ใช่แค่ในเรื่องเพศ แต่รวมถึงมิติอื่นๆ ด้วย เพราะข้อดีก็ต้องทำให้ดีขึ้น ส่วนข้อเสียก็ต้องช่วยกันแก้ไข มาร่วมแสดงความคิดเห็นกันเถอะว่า ปัญหาของสังคมไทยนั้นคืออะไร? To celebrate ‘The Harmony of Diversity’ of the pride month in Thailand 2020, here are ‘16 diverse people’ with their ‘diverse spectra’ through the same hope to […]

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สปอร์ตโฆษณา ประเภทนักเรียน นิสิต/นักศึกษา

สปอตโฆษณา ความเท่าเทียม (ที่เปลี่ยนแปลง) รองชนะเลิศ อันดับ 2 ผลงานที่ได้รับรางวัลการประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “Gender Equality” : สปอตโฆษณา ความเท่าเทียม (ที่เปลี่ยนแปลง) ชื่อผลงาน : ความเท่าเทียม (ที่เปลี่ยนแปลง) รองชนะเลิศ อันดับ 2 : สปอตโฆษณา ประเภท : นักเรียน นิสิต/นักศึกษา Cr. อัษฎา สุนทร, เจษฎาวริณทร์ วัฒนะศศิวงศ์ และศศิภาวรรณ เชาวะนะสิทธิ์ มาร่วมสร้างสังคมแห่งความเท่าเทียม โดยเริ่มจากการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ซึ่งกันและกัน อย่ากำจัดสิทธิ โอกาสในการแสดงศักยภาพเพียงเพราะเห็นว่าคนๆ นั้น แตกต่างจากสิ่งที่สังคมคาดหวัง เราต้องเรียนรู้ว่ามนุษย์มีศักยภาพ มีความต้องการ และมีปัญหาที่แตกต่างกัน หากไร้ซึ่งการเลือกปฏิบัติเพราะอัตลักษณ์ทางเพศแล้ว คำว่าสังคมเปิดกว้างก็คงเป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ ร่วมสร้างสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลง ร่วมสร้างสังคมแห่งความเท่าเทียมระหว่างเพศร่วมกัน megaphone-filled อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่ให้พลาดทุกข่าวสารของ สค. กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว […]

รางวัลชนะเลิศ สารคดีสั้น ประเภทนักเรียน นิสิต/นักศึกษา

สารคดีสั้น Equality begin for us ชนะเลิศผลงานที่ได้รับรางวัลการประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “Gender Equality” : สารคดีสั้น Equality begin for us ชื่อผลงาน : Equality begin for us ชนะเลิศ : สารคดีสั้น ประเภท : นักเรียน นิสิต/นักศึกษา Cr. อัจฉราภรณ์ ศรีวิชัยศักดิ์, วันวีรพร ลาสี และสุพพัต เนตรใหญ่ ทำไมผ้าอนามัยถึงไม่ฟรีแบบถุงยางอนามัย? ผู้หญิงแต่งตัวไม่มิดชิดทำให้ผู้ชายเกิดอารมณ์ ผู้ชายใส่กระโปรง/แต่งหน้าถูกมองเป็นเรื่องแปลก เรื่องเล่าจากประสบการณ์ที่สะท้อนสิ่งที่ต้องเผชิญกับความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ เพียงเพราะเราแตกต่าง ทุกคนมีสิทธิที่จะแต่งตัวอย่างไรก็ได้แต่อยู่บนพื้นฐานของกาลเทศะ ควรได้รับสวัสดิการที่ควรจะเป็น ได้รับสิทธิและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม สิ่งที่ยากที่สุดไม่ใช่การเพิ่มหรือเปลี่ยนกฎหมายด้านความเท่าเทียม แต่เป็นการสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน เปลี่ยนความคิดและมุมมองของคนในสังคม   megaphone-filled อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่ให้พลาดทุกข่าวสารของ สค. กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว […]

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สารคดีสั้น ประเภทนักเรียน นิสิต/นักศึกษา

สารคดีสั้น Gender Free รองชนะเลิศอันดับ 2 ผลงานที่ได้รับรางวัลการประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “Gender Equality” : สารคดีสั้น Gender Free ชื่อผลงาน : Gender Free รองชนะเลิศอันดับ 2 : สารคดีสั้น ประเภท : นักเรียน นิสิต/นักศึกษา Cr. ปิยะพงศ์ เทพสันทัด และ พงศกร มีแก้ว ทำไมต้องเข้าห้องน้ำผู้หญิง? ทำไมชื่อเป็นนาย? ทำไมผู้ชายจึงผมยาว? เสียงบอกเล่าจาก transgender ว่าทำไมต้องมาตอบคำถามอะไรแบบนี้……….. transgender ถูกมองว่าเป็นของแปลก เป็นตัวตลก ครอบครัวไม่ยอมรับด้วยเหตุผลว่าอายคนอื่น โดนปฏิเสธรับทำงานเพราะไม่ใช่ผู้หญิง โดยดูถูกทั้งสายตาและคำพูด “การออกมาเรียกร้องสิทธิ์ ไม่ใช่เพราะเราอยากพิเศษกว่าคนอื่น แต่อยากให้มองว่า transgender เป็นมนุษย์คนหนึ่งเช่นกัน อยากใช้ชีวิตปกติเหมือนคนทั่วไป” หากมีการปลูกฝังเรื่องความเท่าเทียมทางเพศในสถานศึกษาตั้งแต่เยาว์วัย ค่านิยมทางสังคม เช่น การถูกเลือกปฏิบัติ หรือ ถูกกีดกันเพราะอัตลักษณ์ทางเพศ […]

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 สารคดีสั้น ประเภทนักเรียน นิสิต/นักศึกษา

สารคดีสั้น ออกสาว The Series Effeminacy project รองชนะเลิศอันดับ 1 ผลงานที่ได้รับรางวัลการประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “Gender Equality” : สารคดีสั้น ออกสาว The Series Effeminacy project ชื่อผลงาน : ออกสาว The Series Effeminacy project รองชนะเลิศอันดับ 1 : สารคดีสั้น ประเภท : นักเรียน นิสิต/นักศึกษา Cr. อาชวิชญ์ อินทร์หา การออกสาว คือ คนที่มีเพศกำเนิดเป็นเพศชาย เมื่อเติบโตขึ้นมีรสนิยมทางเพศที่เปลี่ยนไป และมีการแสดงออกที่คล้ายกับเพศหญิง ถึงแม้ว่าจะแต่งงานมีครอบครัวไปแล้ว ก็อาจจะมีพฤติกรรมแบบนี้ได้เช่นกัน ซึ่งเป็นพฤติกรรมธรรมชาติของมนุษย์ แต่สังคมกลับมีอคติต่อกลุ่มดังกล่าวว่า เป็นเรื่องที่ไม่สมควรแสดงออกมา megaphone-filled อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่ให้พลาดทุกข่าวสารของ สค. กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว […]

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 สปอร์ตโฆษณา ประเภทนักเรียน นิสิต/นักศึกษา

สปอตโฆษณา เป็นหรือเปล่า รองชนะเลิศ อันดับ 1 ผลงานที่ได้รับรางวัลการประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “Gender Equality” : สปอตโฆษณา เป็นหรือเปล่า ชื่อผลงาน : เป็นหรือเปล่า รองชนะเลิศ อันดับ 1 : สปอตโฆษณา ประเภท : นักเรียน นิสิต/นักศึกษา Cr. จิรวัฒนานันท์ จันทวัน, นวกร เขตตระการ และธนดล ประดิษฐ์โสภา ตอนเด็ก ๆ พวกคุณอาจจะเคยเจอคำถามว่า โตขึ้นอยากเป็นอะไร แล้วคุณจำคำตอบของตัวเองและเพื่อนๆ ในวันนั้นได้มั้ย? นึกถึงแล้วก็แอบอมยิ้มนะ คำตอบยอดฮิตเลย เด็กผู้หญิงก็อยากเป็นครู พยาบาล ส่วนเด็กผู้ชายก็อยากเป็นทหาร ตำรวจ ด้วยเหตุผลอะไรก็ไม่รู้ล่ะ โตขึ้นมาหน่อยจึงรู้ว่าคำตอบในวันนั้นคงมาจากภาพจำ การผลิตซ้ำค่านิยมของคนสมัยก่อนว่า ผู้หญิงต้องเป็นอย่างนั้น ผู้ชายต้องเป็นอย่างนี้…. สมัยนี้ ถ้าพูดถึงอาชีพช่างแต่งหน้า หลายคนก็ยังคิดว่าต้องเป็นอาชีพของผู้หญิง หรือบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ น้อยคนนักที่จะนึกถึงผู้ชาย ใครจะไปรู้ว่ายังมีผู้ชายอีกหลายคน ที่เค้ามีความสามารถ […]

รางวัลชนะเลิศ สปอร์ตโฆษณา ประเภทประชาชนทั่วไป

สปอตโฆษณา Gender = Human ชนะเลิศผลงานที่ได้รับรางวัลการประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “Gender Equality” : สปอตโฆษณา Gender = Human ชื่อผลงาน : Gender = Human ชนะเลิศ : สปอตโฆษณา ประเภท : ประชาชนทั่วไป Cr. วันทนีย์ ไชยชาติ, ราชนาวี พันทวี และปณิดา สอแจ่มจิตต์ เรื่องความเสมอภาคทางเพศหรือความเท่าเทียมระหว่างเพศเป็นเรื่องของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ที่มีสิทธิในความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน มีสิทธิเลือกที่จะเป็น เลือกที่จะทำ บนพื้นฐานที่ไม่สร้างความเดือดร้อนให้ใคร “ทุกเพศ…คือ คนอย่างเสมอภาค” megaphone-filled อย่าลืมกดติดตามเพื่อไม่ให้พลาดทุกข่าวสารของ สค. กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.)